วันพุธที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์




ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
             เครือข่ายที่ทำงานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรียกว่า  Workgroup  เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ 
กลุ่มงานเข้าด้วยกันจะเป็นเครือข่ายขององค์กร  จะเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่   สามารถประยุกต์ใช้งานไ
ด้อย่างกว้างขวางโดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันและสื่ออ่านเพิ่มเติม

เครือข่ายอินเทอร์เน็ต





ความหมายของอินเตอร์เน็ตและ ISP
ความหมายของอินเตอร์เน็ต

     อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นจำนวนมากครอบคลุมไปทั่วโลกโดยอาศัยโครงสร้างระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล มีการประยุกต์ใช้งานหลากหลายรูปแบบ อินเทอร์เน็ตเป็นทั้งเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ และเครือ่านเพิ่มเติม

เครือข่ายภายนอกองค์กรหรือเอกซ์ทราเน็ต




เครือข่ายภายนอกองค์กรหรือเอกซ์ทราเน็ต (Extranet)

5) เครือข่ายภายนอกองค์กรหรือเอกซ์ทราเน็ต (Extranet) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อเครือข่ายภายในองค์กร
เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายนอกองค์กร เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ขายสินค้าสาขาหรือลูกค้า โดยจะ
อนุญาตและควบคุมให้เฉพาะสมาชิกขององค์กรหรือผู้ที่ได้รับสิทธิใช้งานเท่อ่านเพิ่มเติม

เครือข่ายในองค์กรหรืออินทราเน็ต





เครือข่ายภายในองค์กรหรืออินทราเน็ต(Intranet)

4) เครือข่ายภายในองค์กรหรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นระบบเครือข่ายที่นำเทคโนโลยีแบบเปิดจาก
อินเตอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้ภายในองค์กร เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 
และการทำงานต่างๆ ร่วมกันของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นการจำกัดขอบเขตการใช้งานให้อยู่ภายในองค์กร
เท่านั้น เช่น การใช้งานเครื่อ่านเพิ่มเติม

เครือข่ายบริเวณกว้างหรือแวน (Wide area network: WAN)



เครือข่ายบริเวณกว้างหรือแวน (Wide area network: WAN)

3) เครือข่ายบริเวณกว้างหรือแวน (Wide area network: WAN) เป็นเครือข่ายที่เกิดจากการเชื่อมต่อเครือข่าย
แลนหลายๆเครือข่ายที่อยู่ห่างไกลเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารขององค์กรต่างๆ เช่น
 ธนาคาร ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล เป็นต้น สามารถคลอบคลุมพื้นที่ทางภูมิศาสตร์มากกว่าเครือข่ายแบบแมน
 โดอ่านเพิ่มเติม

เครือข่ายนครหลวงหรือแมน(Metropolition are network: MAN)

เครือข่ายนครหลวงหรือแมน(Metropolition are network: MAN)


 2) เครือข่ายนครหลวงหรือแมน( Metropolition are network: MAN) เป็นเครือข่ายข้อมูลที่
ครอบคลุมพื้นที่ทางภูมิศาสตร์มากกว่าเครือข่ายแลน เช่น การเชื่อมต่อระหว่างองค์กรต่างๆ ภายในอำเภอ
 หรือจังหวัด เป็นต้น ซึ่งลักษณะการนำเครือข่ายแลนหลายๆเครือข่ายที่อยู่ห่างกันมาต่อถึงกันผ่านทางสื่อต่างๆ 
เช่น ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ดาวเทียม เป็นต้น จะทำให้ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลระหว่างแต่ละเครือข่ายมี
ความเร็วไม่สูอ่านเพิ่มเติม

เครือข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะที่หรือเเลน





เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)





เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
           หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งเชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่บริเวณที่ไม่ไกลเข้าด้วยกัน เช่น 
ภายในอาคาร หรือภายในองค์กรที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก เครือข่ายแลนจัด
ได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์กร การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์กรสามารถ
ทำเองได้ โอ่านเพิ่มเติม

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (อังกฤษcomputer network
ศัพท์บัญญัติว่าข่ายงานคอมพิวเตอร์) คือเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์
จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ต่างๆในเครือข่าย (โหนดเครือข่าย) จะใช้สื่อที่เป็นสายเคเบิลหรือสื่อไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันดีคือ อินเทอ่านเพิ่มเติม

อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่าย



 1.โมเด็ม (Modem)


    โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับ
และแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร  กระบวนการที่โมเด็อ่านเพิ่มเติม

รูปแบบการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์




รูปแบบการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. โทโปโลยีแบบบัส
 เป็นโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ลักษณะการทำงานของเครือข่าย โทโปโลยีแบบบัส คืออุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียอ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

สื่อกลางการสื่อสารข้อมูล

สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
       
    ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน
และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่
หลายประเภท แต่ละประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูล ที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนำผ่านไป
ได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุในการนำข้อมูลหรือ ที่เรียกกันว่าแบบด์วิดท์ (bandwidth)
 มีหน่วยเป็นจำนวน
บิตข้อมูลต่อวินาที (bit per second : bps) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดังต่อไปนี้
 สื่อกลางประเภทมีสาย

    
           เช่น สายโทรศัพท์ เคเบิลใยแก้วนำแสง เป็นต้น สื่อที่จัดอยู่ในการสื่อสารแบบมีสายที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
 สายทองแดงแบอ่านเพิ่มเติม

การสื่อสารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
 
          

 การสื่อสารข้อมูล (Data Communications)
 หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยน
ข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็น
ตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
           วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลาย
ทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่าง
การส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่งรบกวน (Noise) จากภายนอกทำให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยน
ไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะทำให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน
 จึงต้องอ่านเพิ่มเติม

องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล


องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบ 5 อย่าง (ดังรูป) ได้แก่





      1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมี
หน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
      2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์
 เครื่องพิมพ์ เป็นต้น

      3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
 สื่อส่งข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนำแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น 
เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิท

ความหมายของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์





ความหมายของการสื่อสารข้อมูลและ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล/เครือข่าย

การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการ
ถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่อง
ทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลาง
ในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือระอ่านเพิ่มเติม



ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์


นับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสำนักงานหนึ่งมีเครื่องอยู่ 30 เครื่อง 
หรือมากกว่านี้ ถ้าไม่มีการนำระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเห็นว่าต้อง
ใช้เครื่องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่ายคอม
พิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์ หรือเครื่องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่อง 
ก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้เครื่องพิมพ์เครื่องใดก็ได้ 
ผ่านเครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือข่ายเดียวกัน          การ สื่อสารข้อมูลเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกจากคนหนึ่ง
ไปสู่อีกคนหนึ่งโดยอาศัยสื่อหรือเครื่องมือต่างๆเป็น ช่องทางในการสื่อสาร เช่น 
การสื่อสารด้วย ท่าทาง ถ้อยคำ สัญลักษณ์ ภาพวาด จดหมาย โทรเลข เป็นต้น ต่อ่านเพิ่มเติม